10 ทฤษฎีใหม่สอนให้คนรู้จักการทำงานร่วมกันกับผู้อื่น ทั้งใกล้ชิดและห่างไกลโดยอาศัยความยุติธรรมและคุณธรรม 2. ความพร้อมและการจัดการ 2. 1 สภาพพื้นที่ เช่น ที่ดินและแหล่งน้ำในไร่นา เป็นต้น บางสภาพพื้นที่ทำได้ ดินเหมาะสม ดินสามารถปลูกพืชได้ และเก็บกักน้ำได้ 2. 2 เทคโนโลยีการผลิต การจัดการ และการตลาด 2. 3 เงินลงทุน และเงินทุนหมุนเวียนเล็กน้อยหากมีความเพียร 2. 4 ในการปรับเปลี่ยนวิธีการผลิต และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกร เช่น เคยปลูกพืชอย่างเดียว กลับมาปลูกหลายชนิด ทำงานในไร่นาบางฤดูกาล กลับต้องทำตลอดปีอย่างมีความสุข และมีความอบอุ่นกับครอบครัว 2. 5 มีทักษะความขยันมั่นเพียร อดทน ทดลอง ศึกษา เรียนรู้จริง จากการปฏิบัติ และรอคอยความสำเร็จ 3. ความร่วมมือและความสามัคคี 3. 1 ร่วมมือกับภาคราชการ เอกชน และประชาชน 3. 2 ความร่วมมือของคนในกลุ่ม ชุมชน และท้องถิ่น 3. 3 ความสามัคคีร่วมกัน เอื้ออาทรต่อกัน 3. 4 ระดมทุน ทรัพยากรการผลิต คน และอื่นๆ ในการดำเนินงาน สรุปหลักการประยุกต์ทฤษฎีใหม่สำหรับเศรษฐกิจพอเพียง 1. ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรประมาณ 10- 15 ไร่ 2. ทฤษฎีใหม่ขั้นที่หนึ่ง หรือขั้นแรก ทำการผลิตกิจกรรมการเกษตร พืช สัตว์ และประมงในไร่นา ให้สามารถเลี้ยงตัวเองได้ อย่าง "พออยู่ พอกิน" หรือสามารถพึ่งตนเองได้ 3.

MV เพลง อยู่อย่างพอเพียง - YouTube

อยู่อย่างเศรษฐกิจพอเพียง ในยุคที่เศรษฐกิจ วิกฤต ผันผวน : โดย ผดุง จิตเจือจุน

กินอาหารไทย เพราะอาหารไทยเลือกใช้วัตถุดิบภายในประเทศ คุณค่าทางอาหารถือว่าครบถ้วนใน 1 เมนู และถือว่าเป็นการช่วยเศรษฐกิจชาติอีกด้วย 8. ลดการสั่งอาหารราคาพิเศษ เช่น เพิ่มข้าว เพิ่มกับข้าว แต่กินไม่หมด จึงสิ้นเปลืองทั้งเงินและเสียดายอาหารที่เหลือด้วย 9. งดกินอาหารมื้อดึก เมื่อกินอาหารแล้วเข้านอนทันที ทำให้ร่างกายไม่ได้เผาผลาญพลังงาน สะสมเป็นไขมัน จึงทำให้เกิดภาวะอ้วนได้ 10. เคี้ยวอาหารช้าๆ อย่ารีบร้อน เพราะการเคี้ยวอาหารแบบช้าๆ จะทำให้เรารู้สึกอิ่มเร็ว ลดปัญหาของระบบย่อยอาหาร และการกินอาหารแบบเร่งรีบจะทำให้เราจุกและกินอาหารมากขึ้นกว่าเดิม 11. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แทนนมผง ซึ่งการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นอกจากจะมีสารอาหารครบถ้วน ปกป้องลูกน้อยจากโรคภัยต่างๆ แล้ว ยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซื้อนมผงได้อีกด้วย การเลือกปฏิบัติตัวตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในด้านการกินอาหาร นั่นคือ การประมาณตน กินเท่าที่อิ่ม และเพียงพอต่อปริมาณที่ร่างกายจะได้รับในแต่ละวัน และเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เพียงเท่านี้ก็ทำให้เรามีสุขภาพที่ดี และยังเห็นคุณค่าของการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันมากขึ้น

แสงไม่พอไม่ต้องรอถึงเช้า หยุด 5 ปัญหากวนใจของการถ่ายภาพในที่แสงน้อย ด้วย | RYT9

  1. Roytawan Coffee - เพื่อคนที่รัก... กาแฟ ทุกคน... 
  2. อยู่อย่างพอเพียง
  3. ตั้ง ค่า ทีวี samsung a52
  4. Sandisk ultra flair รีวิว usb

อยู่แบบพอเพียง ใช้ชีวิตอย่างไร ไม่ให้กลับไปหนี้?

ด้านจิตใจ Ø ทำตนให้เป็นที่พึ่งตนเอง Ø มีจิตใจสำนึกที่ดี Ø สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติโดยรวม Ø มีจิตใจเอื้ออาทร ประณีประนอม Ø คำนึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง 2. ด้านสังคมและชุมชน Ø ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน Ø สร้างเครือข่ายชุมชนที่เข้มแข็ง 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Ø การจัดการอย่างชาญฉลาด Ø รู้คุณค่าของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Ø ตั้งอยู่บนพื้นฐานการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่ายั่งยืน 4. ด้านเทคโนโลยี Ø ใช้เทคโนโลยีพื้นบ้านและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม Ø ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น Ø พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง 5. ด้านเศรษฐกิจ Ø เพิ่มรายได้ Ø ลดรายจ่าย Ø การออม สะสมเป็นเงินทุน แนวทางการปฏิบัติตนตามเศรษฐกิจพอเพียง v ยึดหลัก 3 พอ คือ พออยู่ พอกิน พอใช้ v ประหยัด โดยตัดทอนรายจ่าย จากความฟุ่มเฟือย v ประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต v ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง v ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย v ภูมิปัญญาพื้นบ้านและที่ดินคือทุนทางสังคม v ตั้งสติมั่นคง ร่างกายที่แข็งแรง ปัญญาที่เฉียบแหลม นำความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน แนวทางการประยุกต์ทฤษฎีใหม่สำหรับเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 1.

ชีวิตพอเพียงของครอบครัวฉัน - GotoKnow

การ์ตูนเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง พอเพียง.. อยู่อย่าง.. เพียงพอ - YouTube

การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษกิจพอเพียง ความรู้การประยุกต์ใช้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง โดยสำนักงานเกษตรอำเภอนาดูน การประกอบอาชีพแบบเศรษฐกิจพอเพียงสามารถทำได้ดังนี้ 1. ทำไร่นาสวนผสมและเกษตรผสมผสาน เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นเศรษฐกิจพอเพียง 2. ปลูกผักสวนครัวลดรายจ่ายด้านอาหารในครอบครัว 3. ใช้ปุ๋ยคอกและทำปุ๋ยหมักใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อลดรายจ่ายและช่วยปรับปรุงบำรุงดิน 4. เพาะเห็ดฟางจากฟางข้าวและเศษวัสดุเหลือใช้ในไร่นา 5. ปลูกไม้ผลสวนหลังบ้านและไม้ใช้สอย 6. ปลูกพืชสมุนไพรช่วยส่งเสริมสุขภาพอนามัย 7. เลี้ยงปลาในร่องสวน ในนาข้าวและสระน้ำ เพื่อเป็นอาหารโปรตีนและรายได้เสริม 8. เลี้ยงไก่พื้นเมืองและไก่ไข่ประมาณ 10-15 ตัว เพื่อเป็นอาหารต่อครอบครัว โดยใช้ข้าวเปลือก รำปลายข้าวจากการทำนา ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากการปลูก พืชไร่ เศษพืชผัก จากการปลูกพืชผัก 9. การทำก๊าซชีวภาพจากมูลสุกร หรือวัว เพื่อใช้เป็นพลังงาน ในครัวเรือน 10.

Friday, 12 August 2022