2522 หรือไม่ ซึ่งตามแนวคำพิพากษาฎีกาเดิมนั้น เมื่อกฎหมายคุ้มครองแรงงานกำหนดให้ลูกจ้างกำหนดลาป่วยได้ปีละ 30 วันทำงาน ลูกจ้างที่ลาป่วยเกินปีละ 30 วันทำงานนายจ้างมีสิทธิเลิกจ้างลูกจ้างนั้นได้ โดยจ่ายค่าชดเชย และไม่ใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม

  1. ลาป่วยโควิด 30 วัน ต้องนับวันหยุดรวมด้วยหรือไม่ ? - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3
  2. กฎหมายแรงงาน : วันลาป่วย : SIAMHRM.COM
  3. ลาป่วย 20 ข้อ ที่ควรรู้!!
  4. สิทธิวันลาป่วยของพนักงาน | จ๊อบส์ดีบี ประเทศไทย
  5. ลูกจ้าง “รายวัน” ลาป่วย หรือลาประเภทอื่นจะได้ค่าจ้างหรือไม่ ? - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3

ลาป่วยโควิด 30 วัน ต้องนับวันหยุดรวมด้วยหรือไม่ ? - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3

Post on 02 สิงหาคม 2564 by Area3 ฮิต: 18293 ลาป่วยโควิด 30 วัน ต้องนับวันหยุดรวมด้วยหรือไม่? ป่วยเนื่องจากโควิด หรือป่วยเนื่องจากโรคอะไรก็ตามสามารถลาป่วยได้ ส่วนระยะเวลาก็ตามที่ป่วยจริง และมักจะเข้าใจว่าลาได้ไม่เกิน 30 วัน ซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิดนะครับ ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง เพียงแต่จะได้ค่าจ้างไม่เกิน 30 วัน หากลามากกว่า 30 วัน คือตั้งแต่วันที่ 31 เป็นต้นไปจะไม่ได้รับเงิน (ลาได้แต่ไม่ได้ค่าจ้าง) ปัญหาต่อไปคือว่า 30 วันจะต้องนับวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปีนับรวมเข้าไปด้วยหรือไม่? หลักกฎหมาย คือ "ต้องลาเฉพาะวันทำงาน" เพราะ "วันหยุดมีสิทธิหยุดอยู่แล้วไม่ต้องลา" ไม่ใช่ว่าวันอาทิตย์เป็นวันหยุดประจำสัปดาห์ต้องยื่นใบลาป่วย หรือกรณีที่เกิดขึ้นบ่อยคือการห้ามลาปิดหัวปิดท้ายวันหยุด หากป่วยจริงก็ลาได้ และถ้ารวมวันลาป่วยแล้วไม่เกิน 3 วัน(ไม่นับวันหยุด) ก็ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์ ส่วนกรณีลาป่วยโควิด 30 วันนับรวมวันหยุดที่มีคนถามเข้ามานั้นคิดว่านายจ้างไม่น่าจะคิดถูกต้อง ที่ถูกต้องเอาวันหยุดหักออกไปก่อน หากยังไม่เกิน 30 วัน ลูกจ้างก็มีสิทธิได้รับค่าจ้าง Facebook: กฎหมายแรงงาน

  • ลูกจ้าง “รายวัน” ลาป่วย หรือลาประเภทอื่นจะได้ค่าจ้างหรือไม่ ? - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3
  • ตัวแทนจำหน่าย – Egg Albumin
  • ลาป่วย 20 ข้อ ที่ควรรู้!!

กฎหมายแรงงาน : วันลาป่วย : SIAMHRM.COM

ลูกจ้างมีสิทธิลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง ๒. ลาป่วยตั้งแต่สามวันทำงานขึ้นไป นายจ้างอาจให้แสดงใบรับรองแพทย์ได้ ๓. หากนายจ้างจัดแพทย์ไว้แล้วในสถานประกอบการ ให้แพทย์นั้นเป็นผู้ออกใบรับรองแพทย์ ๔.

เครื่องจักรที่ว่าแข็งแกร่ง ก็ยังต้องมีวันที่ต้องซ่อมบำรุง แล้วประสาอะไรกับลูกจ้างเนื้อนิ่ม ๆ ตัวเป็น ๆ ที่จะต้องมีวันที่ป่วย ร่างกายอ่อนแออย่างแน่นอน "วันลาป่วย" จึงเป็นหนึ่งในสิทธิของคนทำงานที่ผู้ประกอบการควรทราบเป็นอย่างยิ่ง เพื่อจัดระเบียบการทำงานของลูกจ้างที่ล้วนแต่ตั้งใจทำงานให้องค์กร ซึ่งผู้ประกอบการอาจมีไอเดียที่จะต่อยอดสวัสดิการทางการแพทย์ และการรักษาพยาบาล เพื่อดึงดูดผู้หางานที่มีคุณภาพ และ รักษาพนักงาน ปัจจุบันให้อยู่กับองค์กรนาน ๆ การลาป่วย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ. ศ.

ลาป่วย 20 ข้อ ที่ควรรู้!!

tadchon ลาป่วย - YouTube

วันนี้ วานนี้ อาทิตย์นี้ อาทิตย์ที่แล้ว เดือนนี้ เดือนที่แล้ว ทุกวัน

สิทธิวันลาป่วยของพนักงาน | จ๊อบส์ดีบี ประเทศไทย

1. ลูกจ้างมีสิทธิลาป่วยเท่าที่ป่วยจริง จะลากี่วันก็ได้ ถ้าป่วยจริง 2. สิทธิในการ ลาป่วยไม่จำเป็นต้องป่วยหนัก 3. การลาป่วย 1 วัน หรือ 2 วัน ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์ 4. การลาป่วย ตั้งแต่ 3 วัน นายจ้างขอให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองแพทย์ได้ 5. ใบรับรองแพทย์จะเป็นของคลินิกหรือโรงพยาบาลก็ได้ ขอให้แพทย์รับรอง 6. ใบรับรองแพทย์ที่ ออกโดยสถานพยาบาลของรัฐ คนรับรองอาจเป็นเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุข ซึ่งไม่ใช่แพทย์ก็ได้ 7. การออกข้อบังคับ หรือ ระเบียบว่าการลาป่วยทุกกรณีต้องมีใบรับรองแพทย์ถือว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย 8. การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป อาจไม่มีใบรับรองแพทย์ก็ได้ กฎหมายกำหนดให้ลูกจ้างชี้แจงก็ได้ ซึ่งการชี้แจงอาจมีหลักฐานที่เป็นภาพถ่ายแสดงอาการป่วย หรือใบเสร็จค่ายา หรือพยานบุคคล หรือใบรับรองแพทย์แผนไทยหรือแผนจีน หรือซองยา หรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่าป่วย 9. การลาเพื่อไปตรวจร่างกายหรือ กรณีรักษาหายแล้วแต่แพทย์ติดตามอาการ เท่ากับว่าขณะลาไม่ได้ป่วย จึงลาป่วยไม่ได้ 10. หมอป่วย ออกใบรับรองแพทย์ให้ตัวเองได้ 11. การลาป่วยซ้อนวันหยุด ให้นับวันลาป่วยเฉพาะวันทำงาน วันหยุดไม่นับเป็นวันลาป่วย เพราะไม่ลาก็มีสิทธิหยุดอยู่แล้ว 12.

กฎหมาย ลาป่วย

ลูกจ้าง “รายวัน” ลาป่วย หรือลาประเภทอื่นจะได้ค่าจ้างหรือไม่ ? - สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 3

นายจ้างออกข้อบังคับห้ามลาป่วยปิดหัวปิดท้ายวันหยุดไม่ได้ เพราะหากป่วยจริงต้องมีสิทธิลา 13. การลาป่วยเท็จ ถือเป็นการละทิ้งหน้าที่ หากเกิน 3 วันนายจ้างอาจเลิกจ้างได้ 14. การลาป่วยบ่อย ถือเป็นการหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน นายจ้างเลิกจ้างได้ (แต่ได้ค่าชดเชย) 15. การลาป่วยไม่เกิน 30 วันมีสิทธิได้ค่าจ้าง ถ้าเกิน 30 วัน มีสิทธิลาป่วยแต่ไม่ได้ค่าจ้าง 16. การลาป่วยไม่เกิน 30 วันมีสิทธิได้ค่าจ้างในวันหยุดที่อยู่ในช่วง 30 วัน แต่ถ้าลาป่วยเกิน 30 วัน แล้วมีวันหยุดในระหว่างที่ลาเกิน 30 วันนั้น จะไม่ได้ค่าจ้างในวันหยุด ถือว่าไม่มีวันหยุดแล้ว (วันหยุดต้องมีในวันทำงานจริง) 17. นายจ้างสามารถตกลงจ่ายค่าจ้างกรณีลาเกิน 30 วันได้ เป็นสภาพการจ้างที่เป็นคุณแก่ลูกจ้างสามารถทำได้ 18. หากนายจ้าง สงสัยว่าลูกจ้างลาป่วยเท็จ นายจ้างสามารถสอบสวนหาข้อเท็จจริงได้ 19. ในการลาป่วย เมื่อลูกจ้างกลับมาทำงานตามปกติแล้วจะต้องยื่นใบลาเพื่อให้นายจ้างอนุมัติ ส่วนผู้อนุมัตินายจ้างอาจกำหนดตามความเหมาะสม 20. นายจ้างไม่ปฎิบัติเรื่องการลาป่วย ไม่มีโทษอาญา (กฎหมายแรงงานเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่ไม่ปฎิบัติแล้วมีโทษอาญา กับกลุ่มที่ไม่ปฎิบัติแต่ไม่มีโทษอาญา) ที่มา เพจ กฎหมายแรงงาน เนื้อหาอื่นที่น่าสนใจ การลาป่วยโดยที่หมอนัดเป็นการรู้ล่วงหน้าถือว่าลาป่วยหรือไม่ อยู่ในช่วงทดลองงาน ลาป่วย นายจ้างหักเงินได้หรือไม่ ลาป่วยเท็จ นายจ้างจัดการอย่างไรดี ลูกจ้างประสบอุบัติเหตุ ลาป่วยเกิน 30 วัน เลิกจ้างได้หรือไม่?

Flash HR Blog Flash HR Blog เป็นแหล่งข้อมูลและเคล็ดลับเกี่ยวกับงานทรัพยากรบุคคล และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพนักงาน การทำเงินเดือน การจัดการองค์กร เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของบริษัท

ศ. 2537) นั้นกฎหมายฉบับนี้ไม่ให้ถือว่าเป็นวันลาป่วย ดังนั้น ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยมีสิทธิได้รับเงินทดแทนตามกฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับนี้ด้วย แต่ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ได้รับค่าจ้างในระหว่างที่หยุดงานนั้นตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน คงได้รับค่าทดแทนตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.

  1. หลังคา ใย แก้ว
  2. Powerpoint อาเซียน 10 ประเทศไทย
  3. Colon cancer guideline ไทย youtube
  4. อุปกรณ์ ทำ ว่า ว 21
  5. ดู หนัง ใน เน็ต ฟิก
  6. แอ ป รอง เพลง สากล
  7. Wallpaper pc เคลื่อนไหว
  8. เวลา สอบ ราม
  9. ช่าง ประปา สุขาภิบาล 5 bocas
  10. ผ้า ยันต์ ล้าน นา เนีย ร์ ภาค
  11. แพ็คเกจ ทัวร์ เกาหลี
  12. กรอง อากาศ jazz ge
  13. ส ส จ พ.ศ
  14. Hereditary เต็มเรื่อง
  15. เขตตรวจราชการที่ 15
  16. Ninja assassin 1 พากย์ไทย เต็มเรื่อง
Friday, 12 August 2022