กำหนดระดับผู้อ่านกลุ่มเป้าหมาย ผู้เขียนต้องรู้ว่าผู้อ่านของตนคือใคร มีคุณสมบัติ มีวัยวุฒิ ระดับสติปัญญา ความรู้และ ประสบการณ์เดิมขนาดไหน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่จะเขียนหนังสืออ่านเพิ่มเติม ที่ต้องการใช้ประกอบการเรียนการสอน คุณสมบัติของผู้ใช้หนังสือ จะต้องนำมาเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการวางแผนการเขียนและกำหนดขอบเขตการเขียนของตน โดยทั่วไปแล้วการแบ่งกลุ่มผู้อ่าน สามารถแบ่งได้ดังนี้ 2. 1 กลุ่มนักวิชาการ ครู อาจารย์ และปัญญาชน ซึ่งมีความสามารถในการอ่านได้สูงมาก 2. 2 กลุ่มเด็กและเยาวชน ทั้งที่อยู่ในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน 2. 3 กลุ่มผู้ใหญ่ หมายถึง ผู้ที่มีอายุเกิน 25 ปี ขึ้นไปสามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตนเองได้ 3. กำหนดเนื้อหาหรือหัวเรื่อง ในการกำหนดเนื้อหาหรือหัวเรื่อง ให้เขียนในสิ่งที่ตนเองรู้แจ้ง และเชี่ยวชาญอย่างแท้จริงพึงหลีกเลี่ยงการเขียนในสิ่งที่ตนยังไม่รู้ไม่ชำนาญ เพราะอาจเกิดปัญหาจนการเขียนต้องหยุดชะงัก ลงได้ แหล่งที่จะคัดเลือกเนื้อหาสำหรับนำมาใช้ในการเขียน ได้แก่ 3. 1 หลักสูตรสถานศึกษา 3. 2 สิ่งแวดล้อมในสังคม และสภาพท้องถิ่น 3. 3 ความสนใจและความต้องการของเด็กตามวัย 4. กำหนดชื่อเรื่อง ผู้เขียนควรกำหนดชื่อเรื่องหนังสือที่ตนจะเขียนไว้ก่อนล่วงหน้าด้วย ทั้งนี้เพราะ การกำหนดชื่อเรื่องนั้นจะเกี่ยวพันโยงไปถึงหัวข้อเรื่องที่จะเขียนและขอบข่ายเนื้อหาที่กำหนดไว้ในโครงสร้าง หลักการที่สำคัญ คือ ชื่อเรื่องควรสอดคล้องกับหัวเรื่อง และโครงสร้างเนื้อหาเพื่อว่าเมื่อผู้อ่านเห็นชื่อเรื่องก็สามารถคาดคะเนได้ว่า เนื้อหาภายในเป็นเรื่องอะไร 5.

สื่อการสอนคืออะไร? และมีกี่รูปแบบกันนะ | Mr. Mee Studio

สื่อที่ไม่ต้องใช้เครื่องประกอบ 1. 1 หนังสือพิมพ์ สมุดคู่มือ เอกสารหรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ข้อดี วิธีเรียนที่ดีที่สุดสำหรับบางคน ได้แก่ การอ่าน สามารถอ่านได้ตามสมรรถภาพของแต่ละบุคคล เหมาะสมสำหรับการอ้างอิงหรือทบทวน เหมาะสำหรับการผลิตเพื่อแจกเป็นจำนวนมาก ข้อจำกัด ต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง บางครั้งข้อมูลล้าสมัยง่าย สิ่งพิมพ์ที่จำเป็นต้องอาศัยการผลิตต้นแบบหรือการผลิตที่มีคุณภาพ ซึ่งหาได้ยาก 1. 2 ตัวอย่างของจริง แสดงสภาพตามความเป็นจริง อยู่ในลักษณะสามมิติ สัมผัสได้ด้วยสัมผัสทั้ง 4 การจัดหาอาจลำบาก บางครั้งขนาดใหญ่เกินกว่าจะนำมาแสดงได้ บางครั้งราคาสูงเกินไป ปกติเหมาะสำหรับการแสดงต่อกลุ่มย่อย 5. บางครั้งเสียหายง่าย 6. เก็บรักษาลำบาก 1. 3 หุ่นจำลอง / เท่า / ขยาย / ของจริง สามารถจับต้องและพิจารณารายละเอียด เหมาะสำหรับการแสดงที่ไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า (เช่น ส่วนกลางหู) สามารถใช้แสดงหน้าที่ ช่วยในการเรียนรู้และการปฏิบัติทักษะชนิดต่าง ๆ หุ่นบางอย่างสบายสามารถผลิตได้ด้วยวัสดุในท้องถิ่นที่หาง่าย ต้องอาศัยความชำนาญในการผลิต ส่วนมากราคาแพง ชำรุดเสียหายง่าย ไม่เหมือนของจริงทุกประการบางครั้งทำให้เกิดความเข้าใจผิด 1.

ประเภทสื่อการเรียนการสอน

1แผ่นป้ายตั้งแสดงเช่นกระดานชอร์กแผ่นป้ายสำลีป้ายนิเทศ ฯลฯ 6. 2 วัสดุและเทคนิคการแสดง เช่น สาธิต นาฏการ ฯลฯ 6.

ประเภทของสื่อการสอน - บทเรียน

การจำแนกสื่อการสอนตามคุณสมบัติ ชัยยงค์ พรมวงศ์ ( 2523: 112) ได้กล่าวไว้ว่า สื่อการสอนแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. วัสดุ ( Materials) เป็นสื่อเล็กหรือสื่อเบา บางทีเรียกว่า Soft Ware สื่อประเภทนี้ผุพังได้ง่าย เช่น - แผนภูมิ ( Charts) แผนภาพ ( Diagrams) ภาพถ่าย ( Poster) โปสเตอร์ ( Drawing) ภาพเขียน ( Drawing) ภาพโปร่งใส ( Transparencies) ฟิล์มสตริป ( Filmstrip) แถบเทปบันทึกภาพ ( Video Tapes) เทปเสียง ( Tapes) ฯลฯ 2. อุปกรณ์ ( Equipment) เป็นสื่อใหญ่หรือหนัก บางทีเรียกว่า สื่อ Hardware สื่อประเภทนี้ได้แก่ เครื่องฉายข้ามศีรษะ ( Overhead Projectors) เครื่องฉายสไลค์ ( Slide Projectors) เครื่องฉายภาพยนตร์ ( Motion Picture Projectors) เครื่องเทปบันทึกเสียง ( Tape Receivers) เครื่องรับวิทยุ ( Radio Receivers) เครื่องรับโทรทัศน์ ( Television Receivers) 3. วิธีการ เทคนิค หรือกิจกรรม ( Method Technique or Activities) ได้แก่ - บทบาทสมมุติ ( Role Playing) - สถานการณ์จำลอง ( Simulation) - การสาธิต ( Demonstration) - การศึกษานอกสถานที่ ( Field Trips) - การจัดนิทรรศการ ( Exhibition) - กระบะทราย ( Sand Trays) การจำแนกสื่อการสอนตามแบบ ( Form) ชอร์ส ( Shorse.

ประเภทสื่อการเรียนการสอน - GotoKnow

3 โทรทัศน์วงจรปิด ( Closed Circuit Television) สามารถใช้ได้ในกลุ่มย่อยและกลุ่มคนที่มีไม่มากจนเกินไป สามารถฉายซ้ำเมื่อผู้ชมเกิดความไม่เข้าใจ แสดงการเคลื่อนไหว สามารถใช้ได้ในกรณีที่มีบริเวณหรือเวลาจำกัด เหมาะสำหรับใช้ในการจูงใจสร้างทัศนคติและเสนอปัญหา เหมาะสำหรับใช้ในการขยายภาพ / บันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นขั้นตอนแต่ใช้เวลามากในการพัฒนา ต้นทุน อุปกรณ์และการผลิตสูงและต้องใช้ผู้ชำนาญในการผลิต / จัดรายการ ต้องใช้ไฟฟ้า (แม้ว่าจะสามารถใช้แบตเตอรี่ได้ ก็อาจจะต้องชาร์ตไฟ) เครื่องรับมีราคาสูง และยากแก่การบำรุงรักษา

สิ่งที่ต้องใช้เครื่องฉายประกอบ ( Projectable Media) 2. 1 ชนิดที่ไม่มีการเคลื่อนไหว หรือภาพนิ่ง ( Still Picture) 2. 1. 1 เครื่องฉายทึบแสง ( Opaque Projector) สามารถขยายภาพถ่ายหรือภาพเขียนให้มีขนาดใหญ่ ซึ่งแม้กลุ่มจะใหญ่ก็เห็นชัดเจนทั่วถึงกัน ช่วยลดภาวะการผลิตสไลด์และแผ่นภาพโปร่งแสง ( Overhead Transparencies) สามารถขยายภาพบนแผ่นกระดาษ เพื่อจะได้วาดภาพขยายได้ถูกต้อง ช่วยในการขยายวัตถุที่มีขนาดเล็กให้กลุ่มใหญ่ ๆ เห็นได้ทั่วถึง เมื่อจะใช้เครื่องจะต้องมีห้องที่มืดสนิทจึงจะเห็นภาพขยาย เครื่องมีขนาดใหญ่มาก ขนย้ายลำบาก ต้องใช้ไฟฟ้า 2. 2 ไมโครฟิล์ม สะดวกต่อการเก็บรักษาและสามารถจัดประเภทได้ง่าย หากมีไมโครฟิล์มจำนวนมาก ๆ เหมาะสำหรับใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ เพราะมีขนาดเล็ก ต้นทุนการผลิตค่อนข้างต่ำแต่ต้องมีเครื่องฉายที่ดี ขนาดเล็ก และน้ำหนักเบาหยิบใช้ง่าย ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เครื่องขยายที่ใช้คนดูคนเดียวมีราคาถูก แต่เครื่องฉายสำหรับกลุ่มใหญ่มีราคาแพง เครื่องขยายต้องใช้ไฟฟ้า (ยกเว้นเครื่องส่งขนาดเล็ก) 2. 2 ชนิดที่มีการเคลื่อนไหว ( Moving Picture) 2. 2. 1 ฟิล์ม / ภาพยนตร์ (ทั้ง 16 มม. และ 8 มม. )

สื่อการสอน สื่อการเรียนการสอน คืออะไร มีความสำคัญกับผู้เรียนอย่างไร - บทความ

สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึกปฏิบัติ 2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ของจริง หุ่นจำลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ 3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ได้แก่การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จำลอง 4. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ อ้างอิงจาก:... ธวัชชัย ชื่นชมพฤกษา

ประเภทของสื่อการสอน - ClassStart

  1. ประเภทสื่อการเรียนการสอน
  2. เปรียบเทียบ▲㍿ใช้โค้ด ส่งฟรี SHOPEE ได้จ้า Purina Supercoat Dog Food For Adult with เพียวริน่า ซุปโปอร์โค้ท อาหารสุนัขโต ขนาด 450g | ผลิตภัณฑ์ฮาร์ด
  3. ราคา bmw x6 2020 car note
  4. แฟน แท ค
  5. ยาง mt ขอบ 20 july
  6. สอบ pre tcas test
  7. ร้องข้ามกำแพง ปั๊มโปเต้&อ้อมสุนิสา06/05/21workpoint23 | ประวัติ อ้อม สุ นิ สา | คอลเลกชันภาพยนตร์ที่ดีที่สุด - Cheerthaipower

กิจกรรมต่าง ๆ (Activities) เช่น นิทรรศการ การสาธิต ทัศนศึกษา ฯลฯ สื่อการเรียนการสอนจำแนกตามรูปแบบ (Form) Louis Shores ได้แบ่งประเภทสื่อการสอนตามรูปแบบไว้ดังนี้ 1. สิ่งตีพิมพ์ (Printed Materials) เช่น หนังสือแบบเรียน เอกสารการสอน ฯลฯ 2. วัสดุกกราฟิก เช่น แผนภูมิ ( Charts) แผนสถิติ (Graph) แผนภาพ (Diagram) ฯลฯ 3. วัสดุฉายและเครื่องฉาย (Projected Materials and Equipment) เช่น ภาพยนตร์สไลด์ฯลฯ 4. วัสดุถ่ายทอดเสียง (Transmission) เช่น วิทยุ เครื่องบันทึกเสียง สื่อการเรียนการสอนตามลักษณะและการใช้ในทางเทคโนโลยีการศึกษา 1. เครื่องมือหรืออุปกรณ์ (Hardware) หรือสื่อใหญ่ (Big Media) หมายถึง สิ่งที่เป็นอุปกรณ์ทางเทคนิคทั้งหลายที่ประกอบด้วยกลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งไม่ใช่สิ่งสิ้นเปลือง ได้แก่ เครื่องฉาย ประเภทต่าง ๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์เครื่องฉายสไลด์เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์เครื่องรับโทรทัศน์เครื่องเล่นซีดี/ดีวีดีเครื่องเสียง รวมทั้งเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางเทคนิคอื่น ๆ ที่เป็นทางผ่านของความรู้เช่น เครื่องฉายจุลชีวะ เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นต้น 2. วัสดุ (Software) หรือสื่อเล็ก (Small Media) ซึ่งเป็นวัสดุที่เก็บความรู้ในลักษณะของภาพเสียง และตัวอักษร ในรูปแบบต่าง ๆ โดยจำแนกได้ 2 ประเภทคือ ก.

1960: 11) ได้จำแนกสื่อการสอนตามแบบเป็นหมวดหมู่ดังนี้ สิ่งพิมพ์ ( Printed Materials) หนังสือแบบเรียน ( Text Books) หนังสืออุเทศก์ ( Reference Books) หนังสืออ่านประกอบ ( Reading Books) นิตยสารหรือวารสาร ( Serials) 2. วัสดุกราฟิก ( Graphic Materials) แผนภูมิ ( Chats) แผนสถิติ ( Graph) โปสเตอร์ ( Poster) การ์ตูน ( Cartoons) 3. วัสดุและเครื่องฉาย ( Projector materials and Equipment) เครื่องฉายภาพนิ่ง ( Still Picture Projector) เครื่องฉายภาพเคลื่อนไหว ( Motion Picture Projector) เครื่องฉายข้ามศีรษะ ( Overhead Projector) ฟิล์มสไลด์ ( Slides) ฟิล์มภาพยนตร์ ( Films) แผ่นโปร่งใส ( Transparancies) 4. วัสดุถ่ายทอดเสียง ( Transmission) เครื่องเล่นแผ่นเสียง ( Disc Recording) เครื่องบันทึกเสียง ( Tape Recorder) เครื่องรับวิทยุ ( Radio Receiver) เครื่องรับโทรทัศน์ ( Television Receiver) การจำแนกสื่อการสอนตามประสบการณ์ เอดการ์ เดล ( Edgar Dale.

ให้ภาพที่มีการเคลื่อนไหวและให้เสียงประกอบ ซึ่งทั้งสองอย่างมีลักษณะใกล้ความจริงมากที่สุด เหมาะสำหรับกลุ่มทุกขนาด คือ สามารถใช้ได้ทั้งกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ใช้เนื้อที่และเวลาน้อยในการเสนอ เหมาะสำหรับใช้จูงใจสร้างทัศนคติและแนะปัญหาหรือแสดงทักษะ ฟิล์ม 8 มม. เหมาะสำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเอง เหมาะสำหรับให้ความรู้ แต่ผู้ใช้จะต้องอธิบายข้อความบางอย่างเกี่ยวกับภาพยนตร์โดยละเอียด ก่อนทำการฉายหรือเมื่อฉายจบแล้วควรจะให้มีการซักถามปัญหา หรืออภิปรายกลุ่มสรุปเรื่องราวอีกด้วย ไม่สามารถหยุดภาพยนตร์เมื่อมีใครมีข้อสงสัย ต้นทุนในการผลิตสูงมากและกรรมวิธีการผลิตยุ่งยาก การผลิตฟิล์มจำนวนน้อย ๆ (ก๊อปปี้) ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นกว่าเดิมมาก ต้องใช้ไฟฟ้าในการฉาย ลำบากต่อการโยกย้ายอุปกรณ์สำหรับฉาย จำเป็นต้องฉายที่มืดจึงจะมองเห็น (นอกจากจะใช้จอฉายกลางวัน) 7. บางครั้งถ้าใช้ภาพยนตร์ต่างประเทศอาจจะไม่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้จริง ๆ 2. 2 โทรทัศน์วงจรเปิด ( Open Circuit Television) สามารถใช้กับทั้งกลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย และถ่ายทอดได้ในระยะไกล ๆ ช่วยในการดึงดูดความสนใจ เหมาะสำหรับใช้ในการจูงใจ สร้างทัศนคติและเสนอปัญหา (ให้ผู้ชมคิดหรือเสริมสร้างการอภิปรายร่วม) ช่วยลดภาวะของผู้ใช้ คือ แทนที่จะบรรยายหลายแห่งต่อคน ที่ต่าง ๆ เห็นได้ในเวลาเดียวกัน ต้นทุนการจัดรายการสูงและต้องใช้ช่างผู้ชำนาญในการทำรายการ เครื่องรับโทรทัศน์มีราคาสูงและบำรุงรักษายาก ผู้ชมต้องปรับตัวเข้ารายการผู้ใช้หรือผู้บรรยายไม่สามารถปรับตัวเข้ากับผู้ชมได้ 2.

  1. เย ด ขาว
  2. แพ็คเกจ ทัวร์ เกาหลี
  3. ดั ม เม อ ร์ เยอ ร์ รี่
  4. ลาย ฝา กระโปรง รถ haval
  5. ขาย i5 3470 graphics card
  6. บริษัท เอ จี ซี ไมโคร กลา ส ประเทศไทย จำกัด
  7. ฝึกนับเลข1-100
  8. รักกันพัลวัน เรื่องย่อ
  9. บริษัท ไทย นิปปอน ฟูด ส์
  10. Air asia change flight date
Sunday, 14 August 2022